ปันอาหารสานสัมพันธ์กับ ‘Casserole’ อาหารเหลือ-อย่าทิ้ง!
“ลูก 🙂 วันนี้ไปซื้อมะพร้าวขูดมาให้แม่หนึ่งกิโลนะ แม่อยากคั้นกะทิสดๆ ทำแกงเผ็ดหมูให้เพื่อนบ้านหน่อย” เมื่อสมัย 20 -30 กว่าปีที่แล้ว การทำกับข้าวแบ่งปันเพื่อนบ้านตามตรอกซอกซอยมักมีให้เห็น
‘House & Garden’ บ้านและสวนสุดแคบกลางซอกตึกในกรุงโตเกียว
ขึ้นชื่อว่าญี่ปุ่นแล้ว การออกแบบงานสร้างสรรค์ภายใต้สภาวะที่เต็มไปด้วยข้อจำกัด สามารถทำได้ดีไม่แพ้ชนชาติใด โดยเฉพาะข้อจำกัดทางด้านพื้นที่ ซึ่งชาวแดนอาทิตย์อุทัยได้แสดงให้เห็นการแก้ปัญหา ภายใต้
‘Pavegen’ สร้างพลังงานไฟฟ้าจากการเดิน เทคโนโลยีสุดเจ๋งช่วยโลก
ท่ามกลางสถานการณ์ปัจจุบันที่แหล่งพลังงานจากธรรมชาตินั้นถูกกล่าวว่ากำลังจะหมดไป วันนี้เรามีเทคโนโลยีใหม่อีกอย่างหนึ่งที่น่าสนใจมานำเสนอ Pavegen คือระบบเทคโนโลยีที่สร้างพลังงาน
‘Qriousity Code’ ไอเดีย+เทคโนโลยี = เครื่องมือช่วยตามหาเด็กหาย
Bandera Blanca Misssing Children องค์กรรณรงค์ช่วยเหลือและรับแจ้งเด็กหายในประเทศอาร์เจนตินา เผยข้อมูลว่า ในแต่ละวันจะได้รับสายแจ้งเด็กหายไม่น้อยกว่า 3 ราย ถ้าคิดเป็นปี เด็กหายเป็นพัน!
‘Quinta Monroy’ เคหะการแนวคิดใหม่ ออกแบบเผื่อชีวิตอนาคต
ปัญหาที่พักอาศัยไม่เพียงพอ และราคาสูงเมื่อเทียบกับรายได้ที่น้อยของคนหาเช้ากินค่ำซึ่งต้องพาตัวเองมาอยู่ในเมืองใหญ่ หลายครั้งมันกลายเป็นสิ่งเริ่มต้นของสลัมและปัญหาไม่รู้จบ แม้ว่าทางภาครัฐในหลายประเทศ
กรี๊ด! แคมเปญชวนกันเปลือย ช่วยลดขยะจากกระดาษห่อของขวัญ
ในช่วงเทศกาลแห่งความสุขที่ผ่านมา คุณคงมีความสุขกับการให้และรับของขวัญที่ถูกห่อด้วยกระดาษสีสวยหลากดีไซน์ แต่เมื่อได้ของข้างในถูกใจ กระดาษห่อของขวัญสีสวยเหล่านั้นก็หมดคุณค่า
กราฟิตี้เปลี่ยนเมือง ระบายใต้สะพานอึมครึมให้เป็นเลโก้สีแจ่ม
ชีวิตคนเรานี่ขาดสีสันไม่ได้จริงๆ นะ ในวันที่ถนนหนทางเป็นสีเทาๆ ตามปรกติ เราก็ไม่ได้คิดว่ามันมีอะไรขาดหายไป จนกระทั่งใครสักคนลุกขึ้นมาสร้างเซอร์ไพรส์ เติมอะไรแจ่มๆ ลงไปบน
The Readery: ช้อปแว่นตา ซื้อหนังสือ เสริมการขาย สร้างการอ่าน
สิ่งของสองอย่างที่ดูธรรมดาๆ แต่หลายๆ ครั้งที่พอจับมันมาอยู่ด้วยกันแล้ว ทุกอย่างก็ดูน่าสนใจยิ่งขึ้น ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา นอกจากในห้างสรรพสินค้าที่อาจจะบังเอิญมีร้านแว่นตาตั้งอยู่ติดกับร้านหนังสือแล้ว
Solfwalks: เปลี่ยนนั่งร้านในนิวยอร์คให้เป็นพื้นที่สาธารณะประโยชน์
ตามถนนหนทางของเมืองนิวยอร์ค มีสิ่งหนึ่งที่แทบจะกลมกลืนกับอาคารไปเลยนั่นก็คือบรรดานั่งร้านที่เกาะผิวหน้าตึก คร่อมทางเท้าประหนึ่งเป็นร่มเงาให้กับคนเดินถนน ถ้าเอานั่งร้านที่มีทั้งหมดมาเรียงต่อกัน
ทุกเศษสตางค์ที่บริจาค คือแสงสว่างในชีวิตที่มืดหม่นของผู้ด้อยโอกาส
1 บาท…5 บาท…10 บาท เหรียญเงินมูลค่าเล็กน้อยที่ใช้ขึ้นรถเมล์ก็แทบจะไม่พออาจดูน้อยค่าสำหรับพวกเรา แต่สำหรับผู้ด้อยโอกาสในสังคม เศษเงินเหล่านั้นหมายถึง ชีวิตที่อยู่รอดต่อไปได้อีกวัน