Bambu Social โครงการอาคารไม้ไผ่ในนิคารากัว ก่อสร้างอย่างยั่งยืน
เป็นที่สังเกตได้ว่า หลังจากปี ค.ศ.2000 เป็นต้นมา จำนวนของสถาปนิกที่ทำงานออกแบบให้กลุ่มคนชายขอบหรือผู้ที่ด้อยโอกาสในสังคมจะเพิ่มขึ้นมากกว่ายุคก่อนๆ อย่างเห็นได้ชัด หากแต่
เป็นที่สังเกตได้ว่า หลังจากปี ค.ศ.2000 เป็นต้นมา จำนวนของสถาปนิกที่ทำงานออกแบบให้กลุ่มคนชายขอบหรือผู้ที่ด้อยโอกาสในสังคมจะเพิ่มขึ้นมากกว่ายุคก่อนๆ อย่างเห็นได้ชัด หากแต่
ไม้ไผ่เป็นหนึ่งในวัสดุที่อยู่คู่กับมนุษย์และโลกมาอย่างยาวนาน ที่ผ่านมาเราจะเห็นการใช้งานวัสดุดังกล่าวในงานก่อสร้างที่พักอาศัย โครงสร้างค้ำยัน สะพาน เลยไปจนถึงบรรดาข้าวของ
ไม้ไผ่เป็นไม้โตเร็ว และพบได้แพร่หลายในเอเชีย ไม้ไผ่อยู่คู่กับชีวิตประจำวันของชาวเอเชียมานาน ทั้งเป็นอาหาร ข้าวของเครื่องใช้ และการปลูกบ้านปรุงเรือน อย่างที่เราจะเห็นได้ในสถาปัตยกรรม
Mason Lane Farm เป็นโรงนาธรรมดาๆ ตั้งอยู่ในบริเวณเขตชนบทของมลรัฐ North Carolina ประเทศสหรัฐอเมริกา หากแต่แต่สะดุดตาด้วยผนังอาคารที่โดดเด่นด้วยลูกเล่นในการสานไม้ไผ่
เมื่อครั้นการเพาะปลูกในเมืองเริ่มได้รับความสนใจและประสบความสำเร็จมากขึ้น ดังที่เคยได้เห็นกันมาพอสมควร อย่าง Urban Farm Unit ที่ใช้เทคโนโลยีและวิธีการเพาะปลูกแบบ
Moving School 001 เป็นอีกหนึ่งผลงานที่น่าชื่นชมในเรื่องของการมอบสิ่งดีๆ ให้กับเพื่อนมนุษย์ โครงการนี้เกิดขึ้นในปี 2011 เมื่อ Building Trust International จัดการประกวดแบบที่ให้เหล่าสถาปนิก
“เมื่อเด็กๆ เบื่อตำรา หนทางออกที่ดีที่สุดคือ การละจากตำราเรียน และเริ่มให้เด็กๆ ลงมือทำสิ่งนั้นแทน” อ่านไม่ผิดหรอกครับ กับการเรียนรู้นอกเหนือจากตำราที่ให้มากกว่า เข้าใจง่ายกว่า และสนุกไปกับสิ่งที่เรียนรู้
หนึ่งในสิ่งที่มนุษย์ไม่อาจควบคุมได้นั่นคือ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งโดยมากนั้นเกิดขึ้นโดยไม่รู้ล่วงหน้า และไม่สามารถแก้ไขได้ ทางเดียวที่มนุษย์ธรรมดาสามารถทำได้ดีที่สุดคือ เตรียมรับมือให้พร้อมที่สุด
ในท้องที่ชนบทแห่งเมืองดาเวา (Davao) เมืองใหญ่ทางตอนใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ ชาวบ้านกลุ่มหนึ่งได้รวมตัวกันสร้างสะพานไม้ไผ่สำหรับเดินเท้า บริเวณแม่น้ำมาติน่าที่พวกเขาต้องใช้ข้ามเป็นประจำ
ไม่เพียงแต่การแพทย์ที่ทำให้ชีวิตคนยืนยาวยิ่งขึ้น แต่ปัจจัยที่รายล้อมอยู่ก็มีส่วนสำคัญไม่น้อย อย่างระยะทางจากบ้านถึงสถานพยาบาลก็เป็นตัวตัดสินความเป็นความตายได้เลยในหลายกรณี ลืมภาพรถพยาบาล