2nd Look: วัยรุ่นไร้บ้านคือปัญหาสังคม? โปรดมองเขาในมุมใหม่
ในสหรัฐอเมริกามีวัยรุ่นไร้ที่อยู่อาศัยเร่ร่อนอยู่ตามท้องถนนจำนวนมากถึง 2.5 ล้านคน วัยรุ่นโฮมเลสเหล่านี้มักถูกมองว่าเป็นปัญหาสังคม เป็นอาชญากร ติดยา เป็นเด็กที่หนีออกจากบ้าน แต่ทั้งหมด
ในสหรัฐอเมริกามีวัยรุ่นไร้ที่อยู่อาศัยเร่ร่อนอยู่ตามท้องถนนจำนวนมากถึง 2.5 ล้านคน วัยรุ่นโฮมเลสเหล่านี้มักถูกมองว่าเป็นปัญหาสังคม เป็นอาชญากร ติดยา เป็นเด็กที่หนีออกจากบ้าน แต่ทั้งหมด
อีสปเคยกล่าวไว้ว่า “ความเมตตา..ไม่ว่าจะเล็กน้อยเพียงใด ย่อมมีค่าเสมอ” หากตั้งใจที่จะ ‘ให้’ แก่ผู้อื่นแล้ว ก็ลงมือทำได้เลย ไม่ต้องรอหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือตั้งองค์กรอะไรให้วุ่นวาย ดูอย่าง
เคยมั้ยเวลาที่เราเดินผ่านคนไร้บ้านหรือ homeless แล้วอยากที่จะช่วยเหลือ แต่ก็ไม่รู้จะช่วยยังไง ครั้นจะให้เงินก็กลัวว่าพวกเขาจะเอาไปซื้อสิ่งที่ไม่จำเป็น อาทิ เหล้า ยา สุดท้าย…เราก็ต้องเดิน
Yarnbombing คือสตรีทอาร์ทประเภทหนึ่งที่กำลังแพร่หลายในหลายประเทศ ที่ไม่ใช้สีสเปรย์ฉีดพ่น แต่ใช้เส้นไหมและเส้นด้ายถักหุ้มสถาปัตยกรรมสาธารณะทั้งเสาไฟ เสาโทรศัพท์ ป้ายบอกทาง
“ถ้าเราตั้งโจทย์ที่ถูก…มันก็นำไปสู่คำตอบที่ถูกได้เช่นกัน” ประโยคเด็ดนี้แวบเข้ามาในสมองทันทีที่เราได้เห็นผลงาน Sheltersuit ของแฟชั่นดีไซเนอร์ Bas Timmer นักออกแบบชาวดัทช์ที่นำ
เมื่อกรกฎาคม 2558 ที่ผ่านมา Café Art องค์กรอิสระที่ทำงานเกี่ยวกับคนไร้บ้านในลอนดอน ได้ริเริ่มโปรเจ็กต์ที่น่าสนใจขึ้นมาชิ้นหนึ่ง พวกเขาได้แจกจ่ายกล้องถ่ายรูป Fuijifilm แบบใช้แล้วทิ้ง
เมืองซานฟรานซิลโกในอเมริกามีคนไร้บ้านอยู่ราว 7,350 คน แต่มีห้องน้ำสาธารณะที่พวกเขาสามารถไปใช้อาบน้ำเพียง 8 แห่ง ผลลัพธ์ที่ตามมาก็คือ มากกว่าครึ่งของคนไร้บ้านจำนวนนี้ขาด
ในสังคมยุคทุนนิยมมีคำกล่าวว่า “ของฟรีไม่มีในโลก” โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ๆ อย่างมหานครนิวยอร์ค ไม่มีใครให้อะไรใครฟรีๆ ทุกอย่างต้องแลกด้วยค่าเงินที่แสนแพง แม้แต่จะตัดผม
ท้องถนน แหล่งชุมชน สวนสาธารณะ สถานีรถไฟ ที่มีผู้คนเดินพลุกพล่าน ดูเหมือนจะกลายเป็นสถานที่ที่คนเร่ร่อนไร้ที่อยู่ใช้เป็นพื้นที่ขอทานเพื่อนำเงินที่ได้ไปซื้ออาหารประทังชีวิตในแต่ละวัน
ปัญหาของคนไร้บ้านขาดแคลนที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับสุขภาวะดูจะเป็นปัญหาที่แก้ยากไปเสียแล้ว เพราะรากของปัญหาดูท่าจะไม่ได้ขึ้นอยู่กับมิติทางรายได้ต่อหัวของประชากรในแต่ละประเทศ