About the Author

sudaporn (Sudaporn Jiranukornsakul)อิ๋งมีความสนใจด้านงานออกแบบและศิลปะ จนมีโอกาสได้ทำงานเป็นนักเขียนตั้งแต่ปี 2004 ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นบรรณาธิการบทความให้กับนิตยาสารแห่งหนึ่ง งานเขียนส่วนใหญ่จะเน้นไปที่โปรดักท์และศิลปะ ทั้งจากไทยและต่างประเทศ
‘กษมา แย้มตรี’ สถาปนิกสวนกระแส เปลี่ยนสังคมด้วยวิชาชีพ
หากลองหยิบเอาแว่นขยายมากวาดดูผู้คนในแวดวงสถาปัตยกรรมเพื่อชุมชนบ้านเรา เชื่อแน่ว่าชื่อและการทำงานของ กษมา (พลอย) แย้มตรี คงจะติดโผหนึ่งในสถาปนิกชุมชนที่งานชุกอีกคนหนึ่ง
‘Local Alike’ การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน โดยชุมชนเพื่อชุมชน ที่ให้มากกว่าความสุข
จากต้นขั้วทางความคิดที่ต้องการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยมีความเข้มแข็งและความสุขของชุมชนเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จ การก่อร่างสร้างตัวของ Local Alike จึงเกิดขึ้นโดยมี สมศักดิ์ บุญคำ (ไผ) และ
‘Edible Spoon’ ช้อนกินได้ มีให้เลือก 3 รส แถมช่วยลดขยะ ลดมลพิษ
ก่อนที่จะเขียนงานชิ้นนี้ขึ้นมา เรามีโอกาสได้อ่านรายงานของ COBSEA หรือ Coordinating Body on the Seas of East Asia ซึ่งระบุว่า ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาท้องทะเลต้องเผชิญกับ
ทีมออกแบบสัญชาติแคเนเดียน แปลงเศษขยะเป็นวอลเปเปอร์ดีไซน์เก๋
ก่อนหน้านี้เรามีโอกาสได้เห็นงานออกแบบวอลเปเปอร์จากเศษวัสดุเหลือใช้กันมาหลากรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นจุกคอร์กจากขวดไวน์ เหรียญเพนนี ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ เรื่อยไปจนถึงซากสเก็ตบอร์ด
Ma:D พื้นที่สุมหัวแห่งใหม่ของนักขับเคลื่อนสังคม
22.8.2014| FEATURED INTERVIEW, INTERVIEW
‘พื้นที่รวมตัวของผู้ที่อยากสร้างการเปลี่ยนแปลง’ นิยามสั้นๆ ที่ทำให้เราพอเห็นภาพลางๆ ของสเปซสำหรับคนทำงานใจกลางกรุงเทพฯ อย่าง ‘มาดี’ (Ma:D) ที่ ปรีห์กมล จันทรนิจกร
‘Ashoka’ องค์กรเปลี่ยนโลกผู้สร้างสรรค์นวัตกรเพื่อมวลชน
Ashoka ผู้ริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อสังคมด้วยความเชื่อที่ว่า ‘ทุกคนสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลง’ Ashoka องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรแห่งนี้ถูกก่อตั้งขึ้นที่สหรัฐอเมริกา เมื่อปี 2523 โดยมี
บ้านพักคนชรา EHPA กับการสร้างสรรค์บนความยั่งยืน
EHPA คือ โครงการบ้านพักคนชราขนาด 44 เตียง ที่ตั้งอยู่ในเมือง Concoret ประเทศฝรั่งเศส งานออกแบบจากบริษัทสถาปนิกชาวปารีเชียงอย่าง NOMADE Architectes อาจ
Heinz จับมือกับ Ford ปลุกชีพเศษมะเขือเทศให้กลายเป็นชิ้นส่วนรถยนต์
ความล้มเหลวของการพัฒนาแบบดั้งเดิมที่ผ่านมาได้สร้างปัญหาให้กับความเป็นอยู่ของคน สังคม และทรัพยากรธรรมชาติอย่างมหาศาล ด้วยเหตุนี้ เราจึงมีโอกาสได้เห็นการพัฒนาแบบยั่งยืน
GLab ศูนย์นวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
18.7.2014| FEATURED INTERVIEW, INTERVIEW
แม้ว่าจะมีพื้นฐานด้านการศึกษาที่ต่างกัน แต่ด้วยความสนใจในการแก้ปัญหาสังคมระดับพื้นฐานด้วยการเข้าไปเรียนรู้และทำความเข้าใจชุมชนอย่างแท้จริง อีกทั้งความเชื่อที่ว่า ‘การศึกษา’
ศูนย์อนุรักษ์หมีพนมตาเมา กับรากเหง้าแห่งความยั่งยืน
ตาแก้ว นอกจากจะเป็นอู่อารยธรรมที่เก่าแก่และหลากหลายที่สุดของกัมพูชาแล้ว จังหวัดทางตอนใต้ของพนมเปญยังเป็นที่ตั้งของสวนสัตว์และศูนย์อนุรักษ์พันธ์สัตว์ป่าพนมตาเมาแห่งนี้ด้วย