‘หลังคาทรงชาม’ นวัตกรรมหลังคาช่วยเก็บน้ำสำหรับบ้านในทะเลทราย
ปฏิเสธไม่ได้ว่าความขาดแคลนนั้นนำมาซึ่งปัญหา แต่ในอีกทางหนึ่งความขาดแคลนก็กระตุ้นให้เกิดการแก้ปัญหาอันนำมาซึ่งความคิดสร้างสรรค์เช่นกัน หลักฐานหนึ่งที่แสดงให้เห็นความคิด
บ้านเด็กเล่นในร.ร.อนุบาลญี่ปุ่น เสริมจินตนาการ+ความคิดสร้างสรรค์
การเล่นช่วยให้สมองในวัยเด็กพัฒนา พื้นที่การเล่นของเด็กได้ถูกพัฒนาตลอดเวลา แต่หัวใจของการเล่นยังสำคัญอยู่ที่การพัฒนาทักษะให้กับสมองเด็กได้รู้จักใช้ความคิดสร้างสรรค์จากการเล่น
‘Growroom’ สถาปัตยกรรมต้นแบบ สำหรับปลูกอาหารเลี้ยงคนเมือง
ด้วยความที่ในปัจจุบันนั้น ทรัพยากรธรรมชาติได้ร่อยหรอลงทุกขณะ และปัญหาหนึ่งที่จะตามมาในอนาคตอันใกล้คือการขาดแคลนทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรด้านอาหาร เนื่องจาก
Platanenkubus: อาคารต้นไม้มีชีวิต ปลูกได้ โตได้ ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม
แม้จะมีความพยายามในการสร้างสรรค์วัสดุก่อสร้างที่มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอยู่อย่างต่อเนื่อง แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า วัสดุที่สร้างขึ้นมาใหม่ไม่ว่าจะทำมาจากอะไรก็ตาม ต้องมีการผ่าน
อยากปลูกผักในเมืองไม่ใช่เรื่องยาก ดูบ้านในเวียดนามหลังนี้เป็นตัวอย่าง
จากความนิยมในการปลูกผักเพื่อใช้บริโภคเองในเมือง มีแนวโน้มที่จะได้รับความนิยมขึ้นเรื่อยๆ บวกกับความต้องการที่จะให้คนเมืองได้สัมผัสกับความเป็นธรรมชาติมากขึ้น ทั้งสองปัจจัย
‘ลานกีฬาพัฒน์ 2’ จากพื้นที่รกร้างสู่พื้นที่ใช้สอยของคนในชุมชน
พื้นที่รกร้างในบ้านเราที่เกิดจากการพัฒนาเมือง ก่อเกิดซอกมุมอับให้กับเมืองในหลายจุด กลายเป็นแหล่งเสื่อมโทรมขาดการพัฒนา มีหลายโครงการที่เข้าไปแก้ปัญหาเรื่องนี้เช่น
บ้านดินหลังใหม่ในจีน ทนทาน ยั่งยืน พร้อมรับมือแผ่นดินไหว
การก่อสร้างของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในโลกล้วนปรับตัวตามสภาพแวดล้อม ผ่านการลองผิดลองถูกมานานจนลงตัวไปกับวิถีชีวิต เมื่อสถาปนิกต้องทำการออกแบบก็ควรจะศึกษาถึงบริบท
บ้าน ‘แฟรงเกนสไตน์’ แห่งอินเดีย อีกหนึ่งแนวทางลดการใช้ทรัพยากร
ตามนิยายเรื่อง แฟรงเกนสไตน์ ของ แมรี เชลลีย์ (Mary Shelley) นักประพันธ์ชาวสหราชอาณาจักร แฟรงเกนสไตน์ คือชื่อของ ดร.หนุ่ม ผู้สร้าง ‘เจ้าปีศาจ’ (Monster) ขึ้นมาตนหนึ่ง โดย
‘Naman Pure Spa’ สปาหรูสวยแบบกรีนๆ ที่ปกคลุมด้วยธรรมชาติ
หลังจากที่ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมได้รับความสนใจในวงกว้าง ส่งผลให้ทิศทางของสถาปัตยกรรมได้เปลี่ยนไป จากสถาปัตยกรรมที่มักปิดตัวเองและแยกตัวเองจากธรรมชาติ มาเป็น
SOS Children’s Village บ้านปลอดภัย อยู่สบาย ในแอฟริกา
สถาปัตยกรรมบนโลกใบนี้แตกต่างกันตามสภาพภูมิอากาศตามสภาพร้อน หนาว ฝน มนุษย์จึงสร้างสถาปัตยกรรมให้สอดคล้องไปตามถิ่นที่ เราจึงเห็นความสวยงามมาจากความ
’เดิร์น..อย่างเป็นธรรมชาติกับบ้านผนังหายใจได้ในอินเดีย
แม้ที่ผ่านมาสถาปัตยกรรมสมัยใหม่หรือสถาปัตยกรรมโมเดิร์น มักจะถูกนำเสนอด้วยภาพลักษณ์ที่เสมือนหนึ่งว่าเป็น ‘ปฏิปักษ์’ กับธรรมชาติ ทำให้ผู้คนส่วนมากพากันเข้าใจว่า สถาปัตยกรรม