บ้านเด็กเล่นในร.ร.อนุบาลญี่ปุ่น เสริมจินตนาการ+ความคิดสร้างสรรค์
การเล่นช่วยให้สมองในวัยเด็กพัฒนา พื้นที่การเล่นของเด็กได้ถูกพัฒนาตลอดเวลา แต่หัวใจของการเล่นยังสำคัญอยู่ที่การพัฒนาทักษะให้กับสมองเด็กได้รู้จักใช้ความคิดสร้างสรรค์จากการเล่น
การเล่นช่วยให้สมองในวัยเด็กพัฒนา พื้นที่การเล่นของเด็กได้ถูกพัฒนาตลอดเวลา แต่หัวใจของการเล่นยังสำคัญอยู่ที่การพัฒนาทักษะให้กับสมองเด็กได้รู้จักใช้ความคิดสร้างสรรค์จากการเล่น
พื้นที่รกร้างในบ้านเราที่เกิดจากการพัฒนาเมือง ก่อเกิดซอกมุมอับให้กับเมืองในหลายจุด กลายเป็นแหล่งเสื่อมโทรมขาดการพัฒนา มีหลายโครงการที่เข้าไปแก้ปัญหาเรื่องนี้เช่น
การก่อสร้างของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในโลกล้วนปรับตัวตามสภาพแวดล้อม ผ่านการลองผิดลองถูกมานานจนลงตัวไปกับวิถีชีวิต เมื่อสถาปนิกต้องทำการออกแบบก็ควรจะศึกษาถึงบริบท
สถาปัตยกรรมบนโลกใบนี้แตกต่างกันตามสภาพภูมิอากาศตามสภาพร้อน หนาว ฝน มนุษย์จึงสร้างสถาปัตยกรรมให้สอดคล้องไปตามถิ่นที่ เราจึงเห็นความสวยงามมาจากความ
เทรนด์สำหรับที่อยู่อาศัยในศตวรรษนี้ดูจะไปยังประเด็นให้สามารถลดการใช้พลังงาน ประหยัด เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลพวงของการใช้พลังงานอย่างมากในศตวรรษที่ 20 …ผ่านไปหนึ่ง
อิฐเป็นวัสดุพื้นฐานในการสร้างสถาปัตยกรรมมากว่าหลายพันปี จวบจนยุคสมัยใหม่มาถึง อิฐได้ถูกทดแทนด้วยวัสดุสมัยใหม่หลากหลายชนิด แต่ในประเทศที่ไม่มีเงินทุนสูงสำหรับสถาปัตยกรรม
การให้ความสำคัญกับพื้นที่สาธารณะอาจจะไม่ใช่ประเด็นที่คุ้นเคยในวัฒนธรรมบ้านเราเท่าไรนัก แต่ความสำคัญของการใช้พื้นที่สาธารณะร่วมกันของชาวเมืองนั้นสำคัญมาก ส่งผลต่อชีวิตของ
สถาปัตยกรรมล้วนปรับตัวให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงของถิ่นที่ ไม่ว่าจะเป็นการใช้วัสดุ วิธีการก่อสร้าง โจทย์ในการออกแบบของเหล่าสถาปนิกคือจะสร้างอย่างไรในแต่ละเงื่อนไข หาก
วัยเด็กคือเวลาแห่งการปลูกฝังจินตนาการ การสร้างพื้นที่ให้จินตนาการเติบโตจึงสำคัญ นอกจากการออกแบบพื้นที่ในโรงเรียนแล้ว องค์ประกอบที่มักจะมีผู้คนสนใจน้อยคือสนามเด็กเล่น
หากนับว่าสถาปัตยกรรมใดคือสิ่งจำเป็นหรือไม่จำเป็น เกณฑ์วัดที่ทำให้สรุปถึงความจำเป็นได้คือการตอบสนองต่อความจำเป็นของมนุษย์อย่างพื้นฐานที่สุดคือปัจจัย 4 อย่างบ้าน โรงพยาบาล