‘ทางม้าลายสามมิติ’ ช่วยลดอุบัติเหตุบนท้องถนนในอินเดีย
ก่อนนี้ครีเอทีฟมูฟเคยเสนอเรื่องทางม้าลายอาร์ตๆ ในกรุงมาดริดไปแล้ว มาคราวนี้เป็นทางม้าลายในอินเดียกันบ้าง เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศหนึ่งที่มีอัตราคนเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
ก่อนนี้ครีเอทีฟมูฟเคยเสนอเรื่องทางม้าลายอาร์ตๆ ในกรุงมาดริดไปแล้ว มาคราวนี้เป็นทางม้าลายในอินเดียกันบ้าง เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศหนึ่งที่มีอัตราคนเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
ในยุคที่เทคโนโลยีพัฒนาไปมากและช่วยก่อให้เกิดแนวคิดแบบ Sharing Economy หรือเศรษฐกิจแบ่งปัน ซึ่งปัจจุบันมีธุรกิจหลายตัวที่ประสบความสำเร็จจากแนวคิดดังกล่าว ส่วนใหญ่แล้วเกี่ยว
ปัญหาหนึ่งในเมืองใหญ่ๆ นั่นก็คือเรื่องของขยะที่เกลื่อนถนน โดยเฉพาะขยะประเภทกระป๋องเครื่องดื่มทั้งหลายที่เมื่อกินเสร็จแล้วเราก็มักจะทิ้งมันไว้ตามพื้นถนนเสียอย่างนั้น ไม่ว่าเมืองไหนๆ
คำกล่าวที่ว่า “ภาพหนึ่งภาพแทนคำพูดนับพันคำ” นั้นเป็นจริงเสมอ แต่ใช้ได้เฉพาะกับคนทั่วไปที่ไม่ได้บกพร่องทางสายตา สำหรับเด็กตาบอด คำกล่าวข้างต้นแทบไม่มีความหมายอะไรเลย
คุณคิดว่าแค่สกรูตัวเล็กๆ จะทำประโยชน์อะไรให้กับโลกได้? แน่ละถ้าเป็นบ้านเราก็คงยักไหล่แล้วส่ายหน้าว่าทำอะไรไม่ได้ แต่ไปถามคนญี่ปุ่น พวกเขาอาจจะกลับมานั่งคิด และใช้จินตนาการ
อย่างที่เราทราบกันดีว่า ทุกวันนี้ขยะที่เกิดจากพลาสติกมักย่อยสลายยาก หรือถ้าจะย่อยสลายก็ใช้กระบวนการที่ยุ่งยากซับซ้อนและใช้เวลานานหลายสิบหลายร้อยปีกว่าจะย่อยสลายได้
วันหนึ่งในปี 2009 ขณะที่ Anna Bullus นักศึกษาการออกแบบผลิตภัณฑ์มหาวิทยาลัยไบรตัน ได้เดินกลับบ้าน ระหว่างทางเธอพบว่ามันเต็มไปด้วยเศษหมากฝรั่งที่คนเคี้ยวแล้วคายทิ้งอยู่ตาม
ระยะหลังภาคธุรกิจล้วนหันมาสนใจสังคมมากขึ้น ถ้าไม่ทำ CSR ไปเลย ก็อาจเป็นโมเดลธุรกิจรูปแบบใหม่ที่แสวงหากำไรไปพร้อมๆ กับการทำประโยชน์เพื่อสังคมด้วย แน่นอนเราปฎิเสธทุนนิยม
มิใช่เรื่องแปลกอีกต่อไปที่ Nike แบรนด์กีฬาที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลกจะลุกขึ้นมาทำจักรยานเป็นของตัวเอง ก่อนหน้านี้ Nike มักสร้างโปรดักใหม่ๆ ที่ก้าวข้ามความเป็นกีฬาออกไปมากพอสมควร
ถ้าเราพูดถึงเมืองจักรยานแน่นอนต้องนึกถึงเนเธอแลนด์ หรือเมืองอื่นๆ ในยุโรปที่มักจะสร้างทางเฉพาะจักรยานเท่านั้น แต่ถ้าพูดถึงเยอรมนี เราคงไม่นึกถึงจักรยานเท่าไหร่ คงไปนึกถึงเทคโนโลยี